วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554

ประโยนน์ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

จากการฝึกประสบการวิชาชีพ ในหน่วยงาน การทางพิเศษแห่งประเทศไทย แผนกสราบรรณ เป็นระยะเวลา 4 เดือน ประโยชน์และความรู้ที่ได้จากการทำงานแผนกนี้มีรอบด้าน คือ
- งานด้านคอมพิเตอร์ Setระบบ ของคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาพื้นฐานเวลาคอมพิวเตอร์ในแผนก และนอกแผนกมีปัญหา เช่นการเช็คระบบ Lan การเช็คอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การสืบค้นข้อมูลต่างๆจากอินเตอร์เน็ตที่ๆด้รับมอบหมาย การใช้งานใน Microsoft Office

- งานด้านเอกสาร การรับเอกสารที่ส่งมายังการทางพิเศษแห่งประเทศไทย การรับจดหมายเรียน ผวก. หรือ เรียนฝ่ายต่างๆ ต้องทำการลงทะเบียนรับเอกสารเพื่อคีย์ข้อมูลรายละเอียดของเอกสารเข้าระบบสำเร็จรูปของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และจะต้องนำส่งเอกสารส่งตามฝ่ายต่างๆ

- งานด้านไปรษณีย์ การรับจดหมายที่มาส่งให้ทุกฝ่ายในการทางพิเศษ จะต้องทำการลงทะเบียนจดหมายทุกฉบับ การส่งไปรษณีย์จากการทางพิเศษไปยังสถานที่ต่างๆ จะต้องลงทะเบียน และคีย์จดหมายที่ลงทะเบียนเข้าในระบบของการทางพิเศษฯทุกฉบับ

จากงานที่ได้รับมอบหมายข้างต้น เป็นงานที่ปฏิบัติเป็นประจำทุกวัน สามารถเรียนงานได้หลายๆด้านไม่เฉพาะงานด้านคอมพิวเตอร์อย่างเดียว ทำให้สามารถมีความรู้ในการปฏิบัติงานได้รอบด้าน การรู้จักวางตัวในการเข้าพบผู้ใหญ่ในหน่วยงาน การมีความเคารพมีสัมมาคารวะ การเสียสละ ช่วยเหลือเอื้อเฝื้อเผื่อแผ่ ต่อทุกคนในหน่วยงาน

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 18

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

งานที่ปฏิบัติ
- ลงทะเบียนรับจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำนวน 21 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 17

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ – 25 กุมภาพันธ์ 2554

งานที่ปฏิบัติ
- ลงทะเบียนรับจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำนวน 63 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกถึง กทพ. เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 เรื่อง
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 14 เรื่อง
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2554 จำนวน 3 คำสั่ง 3 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 11 ฉบับ 22 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร, ฝ่ายการเงิน และฝ่ายบริหารทั่วไป
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 16

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ – 17 กุมภาพันธ์ 2554

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกถึง กทพ. เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 23 เรื่อง
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 66 เรื่อง
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 13 ฉบับ 38 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2516 จำนวน 85 คำสั่ง 93 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร และห้องผู้ว่าการ กทพ.
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 15

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ – 11 กุมภาพันธ์ 2554

งานที่ปฏิบัติ
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับหนังสือเวียน จำนวน 3 เรื่อง 9 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2554 จำนวน 17 คำสั่ง 20 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2518 จำนวน 89 คำสั่ง 103 แผ่น และ ปี 2517 จำนวน 45 คำสั่ง 61 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกถึง กทพ. เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 23 เรื่อง
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 47 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 14

วันที่ 31 มกราคมคม – 4 กุมภาพันธ์ 2554

งานที่ปฏิบัติ
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 55 ฉบับ 104 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2554 จำนวน 12 คำสั่ง 16 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2519 จำนวน 77 คำสั่ง 95 แผ่น และสแกนภาพเอกสาร ปี 2520 จำนวน 52 คำสั่ง 60 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 38 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายนโยบายและแผน (ฝนผ.), ฝ่ายการเงิน (ฝกง.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันพุธที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 13

วันที่ 27 มกราคมคม – 28 มกราคม 2554

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกถึง กทพ. เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 1 เรื่อง
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2554 จำนวน 5 คำสั่ง 9 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2520 จำนวน 157 คำสั่ง และสแกนภาพเอกสาร ปี 2520 จำนวน 100 คำสั่ง 117 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 32 ฉบับ 55 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 12

วันที่ 17 มกราคม – 21 มกราคม 2554

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2522 จำนวน 175 คำสั่ง 193 แผ่น และคำสั่ง กทพ. ปี 2521 จำนวน 73 คำสั่ง 85 แผ่นลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายบริหารทั่วทั่วไป (ฝบท.), ห้องผู้ว่าการ และฝ่ายการเงิน (ฝกง.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 11

วันที่ 10 มกราคม – 14 มกราคม 2554

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2554 จำนวน 10 คำสั่ง 10 แผ่น, คำสั่ง กทพ. ปี 2524 จำนวน 133 คำสั่ง 165 แผ่น และคำสั่ง กทพ. ปี 2523 จำนวน 149 คำสั่ง 158 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 30 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายบริหารทั่วทั่วไป (ฝบท.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 10

วันที่ 4 มกราคม – 7 มกราคม 2554

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2553 จำนวน 2 คำสั่ง 2 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2525 จำนวน 141 คำสั่ง 154 แผ่น และพิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2524 จำนวน 133 คำสั่ง ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- ตั้งค่าระบบ LAN Network ของคอมพิวเตอร์ที่แผนกสารบรรณ จำนวน 5 เครื่อง
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 21 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายการเงิน (ฝกง.) และห้องผู้ช่วยผู้ว่าการ
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 9

วันที่ 27 ธันวาคม – 30 ธันวาคม 2553

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2553 จำนวน 1 คำสั่ง 1 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2526 จำนวน 210 คำสั่ง 236 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 52 ฉบับ 103 แผ่น ลงในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.), ฝ่ายบริหารทั่วทั่วไป (ฝบท.) และฝ่ายการเงิน (ฝกง.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 8

วันที่ 20 ธันวาคม - 24 ธันวาคม 2553

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2553 จำนวน 8 คำสั่ง 16 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2527 จำนวน 117 คำสั่ง 196 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 24 เรื่อง
- ลงทะเบียนรับจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของ กทพ. จำนวน 56 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายการเงิน (ฝกง.) และฝ่ายบริหารทั่วไป (ฝบท.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 7

วันที่ 13 ธันวาคม - 16 ธันวาคม 2553

งานที่ปฏิบัติ
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2529 จำนวน 66 คำสั่ง 87 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2528 จำนวน 128 คำสั่ง 152 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับข่าวสารของกระทรวงคมนาคม (MOT NEWS) จำนวน 29 ฉบับ 64 แผ่น
- คลิกส่งเรื่องภายนอกให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 7 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), ฝ่ายนโยบายและแผน (ฝนผ.), ฝ่ายบริหารทั่วไป (ฝบท.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 6

วันที่ 7 ธันวาคม – 9 ธันวาคม 2553

งานที่ปฏิบัติ- ลงทะเบียนรับจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของ กทพ. จำนวน 6 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- ส่ง FAX ไปยังฝ่ายกฎหมาย (ฝกม.) จำนวน 4 แผ่น
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2553 จำนวน 4 คำสั่ง 5 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2529 จำนวน 66 คำสั่ง และสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2531 จำนวน 76 คำสั่ง 86 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- Install ฟอนต์ ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ของห้อง รองผู้ว่าการฝ่ายวิชาการ (รผว.) จำนวน 2 เครื่อง
- สอนการ Install ฟอนต์ ให้นักศึกษาฝึกงานที่ กองกลางและการประชุม (กกช.)
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.), ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันอังคารที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2553

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 5

วันที่ 29 พฤศจิกายน - 3 ธันวาคม 2553

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง กทพ. ปี 2553 จำนวน 2 คำสั่ง 9 แผ่น ลงในระบบบริการจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารคำสั่งการทางพิเศษฯ ปี 2532 และ ปี 2530 จำนวน 172 คำสั่ง 223 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกที่มาถึงการทางพิเศษฯ (กทพ.) เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 23 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.), รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.)
- ตรวจสอบการรับส่งหนังสือภายนอก ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง “โครงการฟอนต์มาตรฐานราชการไทย”
- Download ฟอนต์(TH SarabunPSK) จากระบบอินทราเน็ตของการทางพิเศษฯ และ Install ฟอนต์ใหม่เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในแผนกสารบรรณ จำนวน 6 เครื่อง และกองกลางและการประชุม (กกช.) จำนวน 5 เครื่อง
ปัญหาและอุปสรรค
- การ Download ฟอนต์ บางครั้งไม่มีฟอนต์ TH SarabunPSK
วิธิแก้ไขปัญหา
- Copy ฟอนต์จากเครื่องที่ลงเรียบร้อยแล้ว ไป Install เครื่องที่ไม่สามารถ Download ฟอนต์ได้

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 4

วันที่ 22-26 พฤศจิกายน 2553

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับคำสั่งการ การทางพิเศษฯ (กทพ.) ปี 2553 จำนวน 3 คำสั่ง, ปี 2532 จำนวน 112 คำสั่ง, ปี 2531 จำนวน 104 คำสั่ง, ปี 2530 จำนวน 61 คำสั่ง ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- สแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่งการ การทางพิเศษฯ (กทพ.) ปี 2533 จำนวน 180 คำสั่ง 247 แผ่น, ปี 2553 จำนวน 10 แผ่น
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกที่มาถึงการทางพิเศษฯ (กทพ.) เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 7 เรื่อง และคลิกส่งเรื่องให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณฯ จำนวน 14 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.) ฝ่ายการเงิน (ฝกง.) รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.) และส่งเอกสารหนังสือเวียนที่ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ผช.ผวก.) และธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- เอกสารที่นำมาสแกนมีความเปื่อยยุ้ยและฉีกขาด เนื่องจากมีอายุที่นานมาก
วิธีแก้ไขปัญหา
- ปิดรอยฉีกขาดด้วยเทปกาว

วันพฤหัสบดีที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 3

วันที่ 15-19 พฤศจิกายน 2553

งานที่ปฏิบัติ
- ลงทะเบียนจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของการทางพิเศษฯ (กทพ.) จำนวน 13 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกที่มาถึงการทางพิเศษฯ (กทพ.) เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 13 เรื่อง และคลิกส่งเรื่องให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณฯ จำนวน 36 เรื่อง
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่งการ การทางพิเศษฯ (กทพ.) ปี 2535 จำนวน 94 คำสั่ง 112 แผ่น, ปี 2534 จำนวน 220 คำสั่ง 289 แผ่น, ปี 2533 จำนวน 180 คำสั่ง (ยังไม่ได้สแกน), ปี 2553 จำนวน 1 คำสั่ง 1 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- เขียนจ่าหน้าซองจดหมายและประทับตราไปรษณีย์ จดหมายเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) 27 ฉบับ
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.) ฝ่ายการเงิน (ฝกง.) รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.) และส่งเอกสารหนังสือเวียนที่ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ผช.ผวก.) และธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธีแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันพุธที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 2

งานที่ปฏิบัติ
- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารคำสั่งการทางพิเศษฯ ปี 2536 และ ปี 2535 จำนวน 405 คำสั่ง 457 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร
- ลงทะเบียนจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของการทางพิเศษฯ (กทพ.) จำนวน 8 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์
- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกที่มาถึงการทางพิเศษฯ (กทพ.) เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 9 เรื่อง และคลิกส่งเรื่องให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณฯ จำนวน 36 เรื่อง
- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.) ,ฝ่ายการเงิน (ผกง.) ,รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.)
- ส่ง Fax เอกสารหนังสือจากภายนอกถึงฝ่ายกฎหมาย (ฝกม.) จำนวน 5 เรื่อง และถึงรองผู้ว่าการฯ (รผก.) จำนวน 16 เรื่อง
ปัญหาและอุปสรรค
- ไม่มี
วิธิแก้ไขปัญหา
- ไม่มี

วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

สรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 1

วันที่ 1-5 พฤศจิกายน 2553

ได้รับมอบหมายให้ฝึกงานในแผนกสารบรรณ ของหน่วยงานการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ส่วนมากเป็นงานเกี่ยวกับการจัดเก็บเอกสารเข้าระบบของหน่วยงาน การส่งเอกสารงานผ่านระบบถึงผู้บริหารในฝ่ายต่าง ๆ แผนกสารบรรณจะมี 2 ระบบหลัก ๆ คือ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และ ระบบบริหารจัดการเอกสาร
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

ระบบบริหารจัดการเอกสาร

งานที่ปฏิบัติ

- ลงทะเบียนจดหมายของพนักงานและลูกจ้างของการทางพิเศษฯ (กทพ.) จำนวน 58 ฉบับ ลงในสมุดทะเบียนรับไปรษณีย์ และประทับตราไปรษณีย์จดหมาย จำนวน 97 ฉบับ

- พิมพ์รายชื่อ คณะกรรมการอำนวยการ จัดงานวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 100 ปี กระทรวงคมนาคม ลง Microsoft Word จำนวน 1 ฉบับ

- พิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับการรับหนังสือภายนอกที่มาถึงการทางพิเศษฯ (กทพ.) เข้าในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 13 เรื่อง และคลิกส่งเรื่องให้สำนักผู้ว่าการ (สผว.) ผ่านระบบสารบรรณฯ จำนวน 36 เรื่อง

- พิมพ์รายละเอียดและสแกนภาพเอกสารคำสั่งเกี่ยวกับสำเนาหนังสือออกเลข กทพ. 05-08 ปี 2553 จำนวน 12 ชุด 16 แผ่น และสแกนภาพเอกสารเกี่ยวกับคำสั่งการ การทางพิเศษฯ (กทพ.) ปี 2537 จำนวน 78 คำสั่ง 114 แผ่น ลงในระบบบริหารจัดการเอกสาร

- ถ่ายเอกสารเกี่ยวกับติดประกาศเรื่องการศึกษาต่อปริญญาโทและติดประกาศบอร์ดโรงอาหารและบอร์ดกองกลางและการประชุม จำนวน 18 ชุด 180 แผ่น

- ส่งแฟ้มหนังสือภายนอก เสนอผู้อำนวยการกองกลางและการประชุม (ผอ.กกช.) ,ส่งเอกสารที่ธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.) รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร (รผบ.) และส่งเอกสารหนังสือเวียนที่ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ผช.ผวก.) และธุรการกองกลางและการประชุม (กกช.)

ปัญหาและอุปสรรค

- การปฏิบัติงานกับระบบของหน่วยงาน ยังไม่ชำนาญ แลปฏิบัติถูกบ้างผิดบ้าง

- คอมพิวเตอร์ในแผนกสารบรรณมีสเป็คที่ต่ำทำให้การปฏิบัติงีความล่าช้า

- ไม่รู้จักแผนกต่าง ๆ ที่จะนำเอกสารไปส่ง

วิธิแก้ไขปัญหา

- สอบถามพี่ ๆ ที่คุมฝึกงาน เกี่ยวกับการแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ

- นำคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คมาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของหน่วยงาน

- สอบถามพี่ ๆ ที่คุมฝึกงาน ว่าแผนกต่าง ๆ อยู่ตรงไหนแล้วจดบันทึก

วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชาเตรียมฝึกวิชาชีพ

1. จากการที่เรียนในครั้งที่ 1 ก็ได้เรียนรู้ถึงการตรงต่อเวลา ความเป็นระเบียบเรียบร้อย เมื่อออกทำงานในสถานที่จริง การมีระเบียบแบบแผน

2. ในการเรียนครั้งที่ 2 ก็ได้รู้ถึงประวัติความเป็นมาของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และมีความภาคภูมิใจในความเป็นสวนดุสิต

3. การเรียนครั้งที่ 3 ทำให้เรียนรู้ถึงความมีจริยธรรมในการประกอบธุรกิจต่างๆ คุณธรรมต้องมาก่อน

4. การเรียนครั้งที่ 4 ทำให้เรียนรู้เรื่องการเงิน การบริหารจัดการเงิน ในธุรกิจของเรา จะทำให้กิจการประสบผลสำเร็จ

5. ครั้งที่ 5 ทำให้เรารู้จักพัฒนาบุคลิกภาพของเราให้ดูดี ในการติดต่อลูกค้าทำให้เราดูดีในสายตาของลูกค้า จะทำให้มีโอกาสในทางธุรกิจมากขึ้น

6. ครั้งที่ 6 การนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจ ทำให้เราสามารถนำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจของเราได้ จะทำให้ธุรกิจของเรามีการทำงานอย่างเป็นระบบมากขึ้น

7. การเรียนครั้งที่ 7 นี้ ได้รู้ถึงการติดต่อธุรกิจกับชาวต่างชาติ ซึ่งจะทำให้มีโอกาสเพิ่มศักยภาพงานได้ดียิ่งขึ้น

8. การเรียนการสอนครั้งที่ 8 นี้ เป็นการเรียนเรื่อง การตลาด ได้รู้หลักในการค้าขาย ทำให้ธุรกิจได้เข้าถึงตลาดมากขึ้น

9. เรียนครั้งที่ 9 เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย เพราะคนสมัยนี้จะใช้ภาษาไทยไม่ค่อยถูกหลัก ทำให้ได้รู้หลักการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ภาษาไทยได้ถูกต้อง

10. ครั้งที่ 10 เป็นการฟังการบรรยายธรรมะจากพระอาจารย์ เป็นการฝึกให้มีสมาธิ ฝึกจิตใจให้สงบ ระลึกคุณจากผู้มีพระคุณทุกๆคน

วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552

DTS 10 - 09/09/2552

การเรียงข้อมูล สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ

- การเรียงข้อมูลแบบภายใน (Internal Sorting) คือ การเรียงลำดับข้อมูล โดยทั้งหมดต้องจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจำหลัก (main memory) ที่มีการเข้าถึงข้อมูลได้เร็ว โดยไม่จำเป็นต้องใช้หน่วยความจำสำรอง เช่น ดิสค์ หรือเทปสำหรับการจัดเก็บชั่วคราว ใช้ในกรณีที่ข้อมูลไม่มากเกินกว่าพื้นที่ความจำที่กำหนดให้กับผู้ใช้แต่ละราย


- การเรียงข้อมูลแบบภายนอก (External Sorting) คือ การ เรียงลำดับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะสามารถเก็บไว้ใน พื้นที่ความจำหลักที่กำหนดให้ได้ในคราวเดียว ดังนั้นข้อมูล ส่วนมากต้องเก็บไว้ในไฟล์ข้อมูลที่อยู่บนดิสค์ เทป เป็นต้น สำหรับการเรียงข้อมูลแบบภายนอกจะต้องคิดถึงเวลาที่ใช้ใน การถ่ายเทข้อมูลจากหน่วยความจำชั่วคราวกับหน่วยความจำหลัก ด้วยเช่นกัน
อัลกอรึทึมสำหรับการเรียงข้อมูล จัดได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้


- การเรียงลำดับแบบแลกเปลี่ยน (Exchange Sort)
- การเรียนลำดับแบบแทรก (Insertion Sort)
- การเรียงลำดับแบบเลือก (Selection Sort

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552

DTS 09 - 02/09/2552

กราฟ (Graph)

เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น อีกชนิดหนึ่ง กราฟเป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีการนำไปใช้ในงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น การวางข่าย งานคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ และปัญหาเส้นทางที่สั้นที่สุด เป็นต้น นิยามของกราฟกราฟ เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้นที่ประกอบ ด้วยกลุ่มของสิ่งสองสิ่งคือ

(1) โหนด (Nodes) หรือ เวอร์เทกซ์(Vertexes)

(2) เส้นเชื่อมระหว่างโหนด เรียก เอ็จ (Edges)กราฟที่มีเอ็จเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนดถ้าเอ็จไม่มีลำดับ ความสัมพันธ์จะเรียกกราฟนั้นว่ากราฟแบบไม่มีทิศทาง (Undirected Graphs)และถ้ากราฟนั้นมีเอ็จที่มีลำดับความสัมพันธ์หรือมีทิศทางกำกับด้วยเรียกกราฟนั้นว่า

กราฟแบบมีทิศทาง(Directed Graphs)บางครั้งเรียกว่า ไดกราฟ (Digraph) ถ้าต้องการอ้างถึงเอ็จแต่ละเส้นสามารถเขียนชื่อเอ็จกำกับไว้ก็ได้

กราฟแบบไม่มีทิศทาง เป็นเซตแบบจำกัดของโหนดและเอ็จ โดยเซตอาจจะว่างไม่มีโหนดหรือเอ็จเลยเป็นกราฟว่าง (Empty Graph)แต่ละเอ็จจะเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนด หรือเชื่อมตัวเอง เอ็จไม่มีทิศทางกำกับ ลำดับของการเชื่อมต่อกันไม่สำคัญ นั่นคือไม่มีโหนดใดเป็น โหนดแรก (First Node) หรือไม่มีโหนดเริ่มต้น และไม่มีโหนดใดเป็นโหนดสิ้นสุดกราฟแบบมีทิศทาง เป็นเซตแบบจำกัดของโหนดและเอ็จ โดยเซตอาจจะว่างไม่มีโหนดหรือเอ็จเลยเป็น กราฟว่าง (Empty Graph) แต่ละเอ็จจะเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนด เอ็จมีทิศทางกำกับแสดงลำดับของการเชื่อมต่อกัน โดยมี โหนดเริ่มต้น(Source Node) และโหนดสิ้นสุด (Target Node)

รูปแบบต่าง ๆ ของกราฟแบบมีทิศทางเหมือนกับรูปแบบ ของกราฟไม่มีทิศทาง ต่างกันตรงที่กราฟแบบนี้จะมีทิศทางกำกับด้วยเท่านั้น การแทนกราฟในหน่วยความจำ ในการปฏิบัติการกับโครงสร้างกราฟ สิ่งที่ต้องการจัดเก็บ จากกราฟโดยทั่วไปก็คือ เอ็จ ซึ่งเป็นเส้นเชื่อมระหว่างโหนดสองโหนด มีวิธีการจัดเก็บหลายวิธี วิธีที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุดคือ การเก็บเอ็จในแถวลำดับ 2 มิติการแทนกราฟในหน่วยความจำด้วยวิธีเก็บเอ็จทั้งหมดใน แถวลำดับ 2 มิติ จะค่อนข้างเปลืองเนื้อที่ เนื่องจากมีบางเอ็จที่เก็บซ้ำอาจหลีกเลี่ยงปัญหานี้ได้โดยใช้แถวลำดับ 2 มิติเก็บโหนดและ พอยเตอร์ชี้ไปยงตำแหน่งของโหนดต่าง ๆ ที่สัมพันธ์ด้วย และใช้ แถวลำดับ1 มิติเก็บโหนดต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับโหนดในแถวลำดับ 2 มิติ

การท่องไปในกราฟ (graph traversal)

คือ กระบวนการเข้าไปเยือนโหนดในกราฟ โดยมีหลักในการทำงานคือ แต่ละโหนดจะถูกเยือนเพียงครั้งเดียว สำหรับการท่องไปในทรีเพื่อเยือนแต่ละโหนดนั้นจะมีเส้นทางเดียวแต่ในกราฟระหว่างโหนดอาจจะมีหลายเส้นทาง ดังนั้นเพื่อป้องกันการท่องไปในเส้นทางที่ซ้ำเดิมจึงจำเป็นต้องทำเครื่องหมายบริเวณที่ได้เยือนเสร็จเรียบร้อยแล้วเพื่อไม่ให้เข้าไปเยือนอีก สำหรับเทคนิคการท่องไปในกราฟมี 2 แบบดังนี้

1. การท่องแบบกว้าง (Breadth First Traversal) วิธีนี้ทำโดยเลือกโหนดที่เป็นจุดเริ่มต้น ต่อมาให้เยือนโหนดอื่นที่ใกล้กันกับโหนดเริ่มต้นทีละระดับจนกระทั่งเยือนหมดทุกโหนดในกราฟ

2. การท่องแบบลึก (Depth First Traversal) การทำงานคล้ายกับการท่องทีละระดับของทรี โดยกำหนดเริ่มต้นที่โหนดแรกและเยือนโหนดถัดไปตามแนววิถีนั้นจนกระทั่งนำไปสู่ปลายวิถีนั้น จากนั้นย้อนกลับ (backtrack) ตามแนววิถีเดิมนั้น จนกระทั่งสามารถดำเนินการต่อเนื่องเข้าสู่แนววิถีอื่น ๆ เพื่อเยือนโหนดอื่น ๆ ต่อไปจนครบทุกโหนด

DTS 08 - 26/08/2552

DTS 8 ทรี Tree

ทรี หรือ โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ ประกอบด้วยโหนด (node) ซึ่งเป็นส่วนที่เก็บข้อมูล ในทรีหนึ่งทรีจะประกอบไปด้วยรูทโหนด (root node) เพียงหนึ่งโหนด แล้วรูทโหนดสามารถแตกโหนดออกเป็นโหนดย่อยๆ ได้อีกหลายโหนดเรียกว่าโหนดลูก (Child node) เมื่อมีโหนดลูกแล้ว โหนดลูกก็ยังสามารถแสดงเป็นโหนดพ่อแม่ (Parent Node) โดยการแตกโหนดออกเป็นโหนดย่อยๆได้อีก

นิยามของทรี
1. นิยามทรีด้วยนิยามของกราฟทรี คือ กราฟที่ต่อเนื่องโดยไม่มีวงจรปิด (loop) ในโครงสร้าง โหนดสองโหนดใด ๆ ในทรีต้องมีทางติดต่อกันทางเดียวเท่านั้น และทรีที่มี N โหนด ต้องมีกิ่งทั้งหมด N-1 เส้นการเขียนรูปแบบทรี อาจเขียนได้ 4 แบบ
ก) แบบที่มีรากอยู่ด้านบน
ข) แบบที่มีรากอยู่ด้านล่าง
ค) แบบที่มีรากอยู่ด้านซ้าย
ง) แบบที่มีรากอยู่ด้านขวา

2. นิยามทรีด้วยรูปแบบรีเคอร์ซีฟทรีประกอบด้วยสมาชิกที่เรียกว่าโหนด โดยที่ ถ้าว่าง ไม่มีโหนดใด ๆ เรียกว่านัลทรี (Null Tree) และถ้ามีโหนดหนึ่งเป็นโหนดราก ส่วนที่เหลือจะแบ่งเป็นทรีย่อย (Sub Tree)T1, T2, T3,…,Tk โดยที่ k>=0 และทรีย่อยต้องมีคุณสมบัติเป็น ทรีนิยามที่เกี่ยวข้องกับทรี

1. ฟอร์เรสต์ (Forest)หมายถึง กลุ่มของทรีที่เกิดจากการเอาโหนดรากของทรีออกหรือ เซตของทรีที่แยกจากกัน
2. ทรีที่มีแบบแผน (Ordered Tree)หมายถึง ทรีที่โหนดต่าง ๆ ในทรีนั้นมีความสัมพันธ์ที่แน่นอน เช่น ไปทางขวาไปทางซ้าย เป็นต้น
3. ทรีคล้าย (Similar Tree) คือทรีที่มีโครงสร้างเหมือนกัน หรือทรีที่มีรูปร่างของทรีเหมือนกัน โดยไม่คำนึงถึงข้อมูลที่อยู่ในแต่ละโหนด
4. ทรีเหมือน (Equivalent Tree) คือทรีที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ โดยต้องเป็นทรีที่คล้ายกันและแต่ละโหนดในตำแหน่งเดียวกันมีข้อมูลเหมือนกัน
5. กำลัง (Degree) หมายถึง จำนวนทรีย่อยของโหนด นั้น ๆ
6. ระดับของโหนด (Level of Node) คือระยะทางในแนวดิ่งของโหนดนั้น ๆ ที่อยู่ห่างจากโหนดราก เมื่อกำหนดให้ โหนดรากของทรีนั้นอยู่ระดับ 1และกิ่งแต่ละกิ่งมีความเท่ากันหมด คือ ยาวเท่ากับ 1 หน่วย ซึ่งระดับของโหนดจะเท่ากับจำนวนกิ่งที่น้อยที่สุดจากโหนดรากไปยังโหนดใด ๆ บวกด้วย 1 และจำนวนเส้นทางตามแนวดิ่งของโหนดใด ๆ ซึ่งห่างจากโหนดราก เรียกว่า ความสูง (Height) หรือความลึก (Depth) -การแทนทรีด้วย โหนดขนาดเท่ากันค่อนข้างใช้เนื้อที่จำนวนมากเนื่องจากแต่ละโหนดมีจำนวนโหนดลูกไม่เท่ากันหรือบางโหนดไม่มีโหนดลูกเลยถ้าเป็นทรีที่แต่ละโหนดมีจำนวนโหนดลูกที่แตกต่างกันมากจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่ในหน่วยความจำโดยเปล่าประโยชน์

-โครงสร้างทรีที่แต่ละโหนดมีลิงค์ฟิลด์แค่สองลิงค์ฟิลด์ ซึ่งช่วยให้ประหยัดเนื้อที่ ในการจัดเก็บได้มาก เรียกโครงสร้างทรีที่แต่ละโหนดมีจำนวนโหนดลูกไม่เกินสอง หรือแต่ละโหนดมีจำนวนทรีย่อยไม่เกินสองนี้ว่า ไบนารีทรี(Binary Tree) มีวิธีการท่องเข้าไปในทรี 6 วิธีคือ NLR LNR LRN NRL RNL และ RLN แต่วิธีการท่องเข้าไปไบนารีทรีที่นิยมใช้กันมากเป็นการท่องจากซ้ายไปขวา3 แบบแรกเท่านั้นคือ NLR LNR และ LRN ซึ่งลักษณะการเป็นนิยามแบบรีเคอร์ซีฟ(Recursive) ซึ่งขั้นตอนการท่องไปในแต่ละแบบมีดังนี้

1. การท่องไปแบบพรีออร์เดอร์(Preorder Traversal)เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่าง ๆในทรีด้วยวิธีNLR มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
(1) เยือนโหนดราก
(2) ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบพรีออร์เดอร์
(3) ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบพรีออร์เดอร์

2.การท่องไปแบบอินออร์เดอร์(Inorder Traversal)เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่างๆในทรีด้วยวิธี LNRมีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
(1) ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบอินออร์เดอร์
(2) เยือนโหนดราก
(3) ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบอินออร์เดอร์

3. การท่องไปแบบโพสออร์เดอร์(Postorder Traversal)เป็นการเดินเข้าไปเยือนโหนดต่าง ๆในทรีด้วยวิธี LRN มีขั้นตอนการเดินดังต่อไปนี้
(1) ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบโพสต์ออร์เดอร์
(2) ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบโพสต์ออร์เดอร์
(3) เยือนโหนดราก

DTS 07 - 05/08/2552

การคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์

การแปลงนิพจน์ Infix ให้เป็น Postfix ผู้เขียนโปรแกรมสั่งให้เครื่องคำนวณต้องเขียนนิพจน์ที่ต้องการไปในตัวโปรแกรม ซึ่งนิพจน์เหล่านี้เรียกว่า นิพจน์ Infix คือนิพจน์ที่มีโอเปอร์เรเตอร์ (Operator) อยู่ระหว่างโอเปอร์แรนด์ (Operand) ทั้งสอง เช่น A+B เครื่องหมาย + เป็นโอเปอร์เรเตอร์ระหว่างโอเปอร์แรนด์ A และ B ซึ่งเห็นว่าเป็นนิพจน์ที่มนุษย์คุ้นเคย ข้อเสียของนิพจน์ infix ทีททำให้คอมไพเลอร์ยุ่งยาก คือลำดับความสำคัญของโอเปอร์เรเตอร์ (Precedence) ที่ต่างกัน เช่นเครื่องหมายยกกำลัง (ใช้ ^ ในการเขียนโปรแกรม) มีความสำคัญมากกว่าเครื่องหมายคูณ และหาร และเครื่องหมายคูณและหารมีความสำคัญมากกว่าเครื่องหมายบวกและลบOperator คือเครื่องหมายกระทำ + - * / ^Operand คือตัวแปรต่าง ๆ A,B,C,D,E เช่น A+B*C,(A*B)-Cลำดับความสำคัญ Operatorเครื่องหมายคูณกับหาร *,/เครื่องหมายบวกกับลบ +,-เครื่องหมายวงเล็บ () กระทำก่อนเช่น A+(B*C)เครื่องหมายระดับเดียวกันไม่มีวงเล็บให้ทำจากซ้ายไปขวา เช่น A+B+Cเมื่อการประมวลนิพจน์ infix เป็นไปด้วยความยากที่การคำนวณไม่เป็นไปตามลำดับของเครื่องหมายโอเปอร์เรเตอร์ที่มีก่อนหลัง คอมไพเลอร์จึงแปลงนิพจน์ infix ให้เป็น postfix เสียก่อน

วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2552

DTS 06 - 29/07/2552

คิว (Queue)

คิวเป็นโครงสร้างชนิดแบบเชิงเส้นหรือที่เรียกกันว่า แบบลิเนียร์ลิส และเวลาจะทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งที่เรียกกว่าส่วนท้ายหรือเรียร์ (rear) และถ้าจะนำข้อมูลออกจะกระทำอีกปลายข้างหนึงที่เรียกกว่า ส่วนหน้าหรือ ฟอร์น(font)ลักษณะการทำงานของคิวจะเป็นแบบเข้าก่อนออกก่อนหรือ ที่เรียกว่า FIFO (Frist In Frist Out)

การทำงานของคิว
1.การใส่สมาชิกเข้าไปในคิว Enqueue = การนำเข้าส่วนท้าย
2.การนำสมาชิกออกจากคิว Dequeue = การนำออกจากส่วนหน้าการนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้น มาแสดงจะเรียกว่า Queue Front แต่จะไม่เอาข้อมูลออกจากคิวเลยการนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้าย มาแสดงจะเรียกกว่า Queue Rear แต่จะไม่ทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว

การแทนที่ข้อมูลของคิว มี 2วิธี
1.การแทนที่ข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
2.การแทนที่ข้อมูลแบบอะเรย์

การดำเนินการเกี่ยวกับคิว
1.Create Queue = เป็นการสร้างพื้นที่ให้กับคิว
2.Enqueue = เป็นการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว
3.Dequeue = เป็นการนำข้อมูลออกจากคิว
4.Queue Front = การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้น มาแสดง
5.Queue Rear = การนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้าย มาแสดง
6.Empty Queue = เป็นการตรวจสอบว่าคิวว่างหรือไม่
7.Full Queue = เป็นการตรวจสอบว่าคิวเต็มหรือไม่
8.Queue Count = เป็นการนับสมาชิกที่อยู่ในคิว
9.Destroy Queue = เป็นการลบข้อมูลทั้งหมดในคิว

วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS 05 - 22/07/2552

เป็นการเรียนการสอนเรื่อง Stack (สแตก)

สแตกเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบลิเนียร์ลิสต์ ที่สามารถนำข้อมูลเข้าหรือออกได้ทางเดียวคือส่วนบนของสแตกหรือ หรือเรียกว่า ท๊อปของสแตก (Top Of Stack) ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวเรียกว่า ไลโฟลิสต์ (LIFO) หรือ พูชดาวน์ลิสต์ (Pushdown List) คือสมาชิกที่เข้าลิสต์ที่หลังสุดจะได้ออกจากลิสต์ก่อน หรือ เข้าหลังออกก่อน การเพิ่มข้อมูลเข้าสแตกจะเรียกว่าพูชชิ่ง (pushing) การนำข้อมูลจากสแตกเรียกว่า ป๊อปปิ้ง (poping) การเพิ่มหรือลบข้อมูลในสแตกทำที่ท๊อปของสแตก ท๊อปของสแตกนี้เองเป็นตัวชี้สมาชิกตัวท้ายสุดของสแตก

ตัวอย่าง Stack ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

สแตก (Stack) คือ การนำข้อมูลเข้าทีหลังแต่นำออกมาใช้ก่อน
ตัวอย่าง Stack ที่เจอในชีวิตประจำวัน เช่น
การเก็บแผ่นซีดีในกล่องที่เป็นแท่งอยู่ตรงกลางกล่องถ้าเราจะใช้แผ่นที่อยู่ล่างสุดเราก็ต้องหยิบอันบนออกมาก่อน

DTS 04 - 15/07/2552

เป็นการเรียนเรื่อง โครงสร้างข้อมูลลิงค์ลิสต์
วิธีแก้ปัญหาในการย้ายข้อมูลที่พบในการจัดเก็บที่มีรูปแบบเรียงตามลำดับ(Sequential)เปลี่ยนมาใช้รูปแบบไม่เรียงตามลำดับ (Non-sequential)ซึ่งรูปแบบการเรียงตามลำดับจะมีสมาชิกเรียงต่อเนื่องติดกันในทางตรรกะ (Logical) และทางกายภาพ(Physical) เป็นแบบเดียวกัน แต่รูปแบบไม่เรียงตามลำดับสมาชิกต่อเนื่องติดกันในทางตรรกะ ส่วนทางกายภาพไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน โดยในทางตรรกะจะแสดงด้วยแต่ละสมาชิกมีการชี้ (Point) ต่อไปยังสมาชิกตัวถัดไป สมาชิกทุกตัวในรายการจึงถูกเชื่อมต่อ (Link) เข้าด้วยกันแต่ละสมาชิกเรียกว่าโหนด (Node)

การเขียนโปรแกรมแบบ stdio.h และ iostream.h

stdio.h

#include"stdio.h "
main()
{
int x,y;

printf("X :");
scanf("%d",&x);
printf("Y :");
scanf("%d",&y);
printf("\n\n");
printf("...............\n");
printf("x mod y = %d\n",x%y);
printf("x + y = %d\n",x+y);
printf("x - y = %d\n",x-y);
printf("x * y = %d\n",x*y);
printf("x / y = %d\n",x/y);
printf("...............\n");
}

iostream.h

#include"iostream.h "
main()
{
int x;
int y;

cout<<"X :"; cin>>x;
cout<<"Y :"; cin>>y;
cout<<"\n\n";
cout<<"...............\n";
cout<<"x mod y = "<< x%y<< endl;
cout<<"x + y = "<< x+y<< endl;
cout<<"x - y = "<< x-y<< endl;
cout<<"x * y = "<< x*y<< endl;
cout<<"x / y = "<< x/y<< endl;
cout<<"...............\n";
}

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS 03 - 01/07/2552

เป็นการเรียนการสอนเรื่อง Pointer
ว่า Pointer คือตัวแปรที่เก็บค่าอ้างอิงไปยังตำแหน่งในหน่วยความจำ
ตัวอย่าง
int *y , x=10
y=&x;
หมายความว่า ตัวแปร y ซึ่งประกาศเป็นตัวแปร Pointer จะเก็บค่า 1000 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่อยู่
เป็นต้น

แบบฝึกหัด

1. ให้นักศึกษากำหนดค่าของ Array 1 มิติ และ Array 2 มิติ
- Array 1 มิติ
ตัวอย่างเช่น กำหนดค่า char name[20] เราก็จะป้อนตัวตัวอักษรได้ไม่เกิน 20 ตัว
#include “stdio.h”
main()
{
char name[20];
printf(“Bookname\n”);
scanf(“%s”,&name);
printf(“Bookname is %s”);
}
- Array 2 มิติ
ถ้าเราประกาศ int b[][]=new int[5][5];ก็หมายถึง สมมติสร้างกล่องใหญ่ๆ มา 5 กล่อง และใน
กล่องใหญ่ๆ 5กล่องนั้น ก็มี อีก 5กล่องเล็ก อยู่ข้างใน { สรุปว่ามีกล่องเล็กทั้งหมด 25 กล่อง } ดังนี้

b[0][0] b[0][1] b[0][2] b[0][3] b[0][4]
b[1][0] b[1][1] b[1][2] b[1][3] b[1][4]
b[2][0] b[2][1] b[2][2] b[2][3] b[2][4]
b[3][0] b[3][1] b[3][2] b[3][3] b[3][4]
b[4][0] b[4][1] b[4][2] b[4][3] b[4][4]

ถ้าพูดถึง b[2][1] จะหมายถึงข้อมูลที่อยู่ในกล่องใหญ่ใบที่ 2 กล่องเล็กใบที่ 1 เป็นต้น

2. ให้นักศึกษาหาค่าของ A[2],A[6]จากค่า A={2,8,16,24,9,7,3,8}
ค่าของ A[2]=16
ค่าของ A[6]=3

3. จากค่าของ int a[2][3]={{6,5,4},{3,2,1}}; ให้นักศึกษาหาค่าของ a[1][0] และ a[0][2]
ค่าของ a[1][0]=3
ค่าของ a[0][2]=4

4. ให้นักศึกษากำหนด structure ที่มีค่าของข้อมูลอย่างน้อย 6 Records
ตัวอย่าง Structure เป็นการขอข้อมูลลูกค้าของร้านขายหนังสือแห่งหนึ่ง
#include"stdio.h"
struct book
{
char name[20];
int id;
char bookname[20];
int date;
int month;
int year;
float price;
}
book;
void input_data()
{
printf("Custommer in rent of book\n");
printf("Name: ");
scanf("%s",&book.name);
printf("ID: ");
scanf("%d",&book.id);
printf("Bookname: ");
scanf("%s",&book.bookname);
printf("Date: ");
scanf("%d",&book.date);
printf("Month: ");
scanf("%d",&book.month);
printf("Year: ");
scanf("%d",&book.year);
printf("Price: ");
scanf("%f",&book.price);
}
void show_data()
{
printf("\n\nDate your is \n");
printf("Name: ");
printf("%s\n",book.name);
printf("ID: ");
printf("%d\n",book.id);
printf("Bookname: ");
printf("%s\n",book.bookname);
printf("Date-month-year : %d-%d-%d\n",book.date,book.month,book.year);
printf("Price: ");
printf("%0.2f\n",book.price);
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

5. ให้นักศึกษาบอกความแตกต่างของการกำหนดตัวชนิด Array กับตัวแปร Pointer ในสภาพของการกำหนดที่อยู่ของข้อมูล
ตัวแปร Array คือ ตัวแปรเป็นชุดตารางใช้เก็บค่าต่างๆที่เป็นชนิดเดียวกัน ส่วนตัวแปร Pointer หรือ ตัวชี้ จะเป็นตัวแปรที่เก็บตำแหน่ง Address เท่านั้น ตัวแปรแบบ pointer แตกต่างจากตัวแปรในตัวอย่างข้างบน เพราะสิ่งที่ pointer เก็บคือเลขตำแหน่งหน่วยความจำ ซึ่งโดยปรกติแล้ว จะเป็นเลขตำแหน่งของตัวแปร หรือเลขตำแหน่งของสมาชิกของคลาสหรือ struct

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Structure

ตัวอย่าง Structure เกี่ยวกับข้อมูลการเช่าหนังสือของร้านเช่าหนังสือแห่งหนึ่ง

#include"stdio.h"
struct book

{
char name[20];
char last[20];
int id;
char bookname[20];
int date;
int month;
int year;
float price;
int return1;
}

book;
void input_data()

{
printf("Custommer in rent of book\n");
printf("Name: ");
scanf("%s",&book.name);
printf("Last: ");
scanf("%s",&book.last);
printf("ID: ");
scanf("%d",&book.id);
printf("Bookname: ");
scanf("%s",&book.bookname);
printf("Date: ");
scanf("%d",&book.date);
printf("Month: ");
scanf("%d",&book.month);
printf("Year: ");
scanf("%d",&book.year);
printf("Price: ");
scanf("%f",&book.price);

}

void show_data()

{
printf("\n\nDate your is \n");
printf("Name: ");
printf("%s\n",book.name);
printf("Last: ");
printf("%s\n",book.last);
printf("ID: ");
printf("%d\n",book.id);
printf("Bookname: ");
printf("%s\n",book.bookname);
printf("Date-month-year : %d-%d-%d\n",book.date,book.month,book.year);
printf("Price: ");
printf("%0.2f\n",book.price);
printf("Return [Date]:: %d-%d-%d\n",book.date+7,book.month,book.year);
}

main()

{
input_data();
show_data();
}

DTS 02 - 24/06/2552

Lecture 2
Array and Record
เป็นการสอนเรียนเรื่อง Array และเรื่อง Record
เรื่องของ Array ว่าเป็นโครงสร้างของข้อมูลที่เรียกว่า Linear List และมีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ และ Array มี 2 ประเภท คือ Array 1 มิติ และ Array หลายมิติ
เรื่องของ Record ว่าเป็นเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกันแล้วรวมเป็น 1 ชุดข้อมูล และ Structure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ

DTS 01 - 17/01/2552

การเรียนการสอนในอาทิตย์แรกนี้ผมไม่ได้เข้าเรียน
แต่จากการถามเพื่อนๆ ก็ได้รู้ว่าอาจารย์แนะนำกฎ กติกา ระเบียบในการเรียนการสอน การแต่งการต้องเรียบร้อย เข้าเรียนต้องตรงต่อเวลา คือ 8.30 น.

ประวัติ


ชื่อ สกุล : นาย รัตน์ติศักดิ์ ปราบปัญจะ

Name : Mr.Rattisak Prabpunja

ชื่อเล่น : ป๊อก

รหัสนักศึกษา : 50152792091

สถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

คณะ : วิทยาการจัดการ

หลักสูตร : บริหารธุรกิจ

สาขา : คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

email : u50152792091@gmail.com

เบอร์โทร : 085-595-5944